วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2555

การพัฒนาบุคลิกภาพ


รายละเอียดของรายวิชา
รายวิชา การพัฒนาบุคลิกภาพ
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
วิทยาเขต/คณะ/สาขาวิชา คณะเทคโนโลยียานยนต์  สาขาวิชา -

หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป
. รหัสและชื่อรายวิชา
๔๐๖ ๔๓๔ การพัฒนาบุคลิกภาพ
Personality Development
. จำนวนหน่วยกิต
๓ หน่วยกิต (--)
. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
บัญชีบัณฑิต,บริหารธุรกิจบัณฑิต,เทคโนโลยีบัณฑิต
สาขาวิชา การบัญชี,คอมพิวเตอร์ธุรกิจ,เทคโนโลยียานยนต์,เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์,เทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์,เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน  กิจสดายุทต์  สังข์ทอง
. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่    1     ชั้นปีที่  3
. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)ไม่มี
. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)ไม่มี
. สถานที่เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
     ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕
หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
ความหมายและความสำคัญของการพัฒนาบุคลิกภาพ ทฤษฎีทางจิตวิทยาเกี่ยวกับการพัฒนาและการประเมินบุคลิกภาพ สุขภาพจิตและการปรับตัว การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแต่งกาย การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การคิดสร้างสรรค์ มารยาททางสังคม ความฉลาดทางอารมณ์ การเสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์ ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
. เพื่อให้นิสิตเห็นความสำคัญของบุคลิกภาพและมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการพัฒนาบุคลิกภาพทุกๆ ด้าน
. เพื่อให้นิสิตสามารถนำความรู้ต่าง ๆ จากการเรียนไปพัฒนาบุคลิกภาพของตนเอง
. เพื่อให้นิสิตเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและพัฒนาบุคลิกภาพในทางที่ดีขึ้น
หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดำเนินการ

. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับบุคลิกภาพโดยทั่วไป ทฤษฎีบุคลิกภาพต่าง ๆ ของนักจิตวิทยา
การพัฒนาลักษณะนิสัยและมนุษย์สัมพันธ์ การเสริมสร้างสุขภาพอนามัย มารยาททางสังคม อิริยาบถ การดูแลรูปลักษณ์ การแต่งกาย ลักษะการพูดเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพการวัดบุคลิกภาพด้วยวิธีการต่าง ๆ การพูดต่อชุมชน และการพูดในโอกาสต่าง ๆ การปรับปรุงเทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ-
. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
๔๘ ชั่วโมง
สอนเสริมตามความต้องการของนิสิตเฉพาะราย
การศึกษาด้วยตนเอง ๖ ชั่วโมง/สัปดาห์
. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซด์คณะสังคมศาสตร์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)


หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

. คุณธรรม จริยธรรม
.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนานิสิตให้มีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็น ประโยชน์ต่อส่วนรวม โดยผู้เรียนต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม เพื่อให้นิสิต สามารถ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับการพัฒนาบุคลิกภาพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
() ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
() มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
()มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
() เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
() เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
.๒ วิธีการสอน
  • บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการคุณภาพ
  • อภิปรายกลุ่ม
  • กำหนดให้นิสิตหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
  • บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
.๓ วิธีการประเมินผล
  • พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
  • มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  • ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
  • ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
. ความรู้
.๑ ความรู้ที่ต้องได้รับ
ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับบุคลิกภาพ การพัฒนาลักษณะนิสัยและมนุษย์สัมพันธ์ การเสริมสร้างสุขภาพอนามัย มารยาททางสังคม อิริยาบถ การดูแลรูปลักษณ์ การแต่งกาย การพูดต่อชุมชน และการพูดในโอกาสต่าง ๆ การปรับปรุงและเทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ
.๒ วิธีการสอน
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าข่าว บทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยให้แก้ปัญหา และโครงงาน Problem Base Learning และ Student Center เน้นผู้เรียนเป็นจุดศูนย์กลาง
.๓ วิธีการประเมินผล
  • ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
  • นำเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
  • วิเคราะห์กรณีศึกษา
. ทักษะทางปัญญา
.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการพัฒนาบุคลิกภาพ
.๒ วิธีการสอน
  • การมอบหมายให้นิสิตทำ และนำเสนอ
  • อภิปรายกลุ่ม
  • วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับบุคลิกภาพบุคคลสำคัญของไทยในปัจจุบัน
  • การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
.๓ วิธีการประเมินผล
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ
. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
.๑ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
  • พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างนิสิตด้วยกัน
  • พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
  • พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
.๒ วิธีการสอน
  • จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
  • มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
  • การนำเสนอรายงาน
.๓ วิธีการประเมินผล
- ประเมินตนเอง และนิสิตด้วยกัน ด้วยรูปแบบที่กำหนด
- รายงานนำเสนอพฤติกรรมกลุ่ม           - บันทึกผลการศึกษาด้วยตนเอง
. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
.๑ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
  • พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
  • พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
  • พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
  • ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทาง E-mail การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ
  • ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
.๒ วิธีการสอน
  • มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงาน โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
  • นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
.๓ วิธีการประเมินผล
  • การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
  • การมีส่วนร่วมในการอภิปราย
หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล
. แผนการสอน
สัปดาห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จำนวนชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
ผู้สอน
บทที่ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
- ความหมายของบุคลิกภาพ
- ลักษณะทั่วไปของบุคลิกภาพ
- ขอบข่ายของบุคลิกภาพ
- ประโยชน์หรือความสำคัญของการเรียนรู้บุคลิกภาพ
- องค์ประกอบและโครงสร้างของบุคลิกภาพ
- การพิจารณาบุคลิกภาพ
- การเรียนรู้ทางสังคมและการพัฒนาบุคลิกภาพ
- อิทธิพลที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา
บทที่ ทฤษฎีบุคลิกภาพ
- ประเภททฤษฏีบุคลิกภาพแบบ
- ทฤษฎีบุคลิกภาพเกี่ยวกับลักษณะนิสัย
- พัฒนาการของบุคลิกภาพ
- ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา
บทที่ การพัฒนาลักษณะนิสัยและมนุษย์สัมพันธ์
- ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อลักษณะนิสัย
- แนวทางสำหรับการสร้างทัศนคติที่ดี
- วิธีสร้างเสริมอุปนิสัย
- แนวทางการสร้างมนุษยสัมพันธ์
- การวางตัวที่เหมาะสมตามสถานภาพในสังคม
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปรายกลุ่มจากกรณีศึกษา
(ทดสอบย่อย และบรรยาย)
บทที่ ๔ การเสริมสร้างสุขภาพอนามัย
-ความหมายและความสำคัญของสุขภาพกายและใจ
การสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพใจเพื่อบุคลิกภาพที่ดี
บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปราย
.
บทที่ ๕ การแต่งกาย
- มารยาทในการแต่งกาย
- การแต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาส
- การใช้เครื่องประดับ
บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปราย
บทที่ มารยาททางสังคม
- ความหมายและความสำคัญของมารยาท
- มารยาททางวาจา
- มารยาทในการแนะนำ
- มารยาทในการแสดงความเคารพ
- มารยาทในการไปพบผู้ใหญ่
- มารยาทในสถานที่และโอกาสต่างๆ
บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปราย ตัวอย่าง
บทที่ อิริยาบถ
- ความสำคัญและประโยชน์ของอิริยาบถ
- วิธีการวางท่าทางที่สง่างาม
สอบกลางภาค
บทที่ ๗ การดูแลรูปลักษณ์
- เส้นผมเสริมบุคลิกภาพ
- ผิวพรรณดีมีผลต่อบุคลิกภาพ
- ดวงตาคือจุดเด่นของใบหน้า
- การดูแลรักษาปากและฟัน
- การบำรุงรักษามือและเล็บ
- ขาและเท้าที่ดูดี
บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปราย ตัวอย่างการศึกษา
๑๐
บทที่ ๘ ทักษะการพูดเพื่อบุคลิกภาพที่ดี
- ความหมายและความสำคัญของการพูด
- องค์ประกอบของการพูด
- หลักพื้นฐานของบุคลิกภาพที่ดีในการพูด
- บุคลิกภาพของผู้ฟังที่ดี
บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปราย ตัวอย่าง
๑๑
บทที่ ๘ ทักษะการพูดเพื่อบุคลิกภาพที่ดี (ต่อ)
- การสร้างความคิดและถ่ายทอดเป็นถ้อยคำ
- การเปล่งเสียงกล่าวถ้อยคำ
- การเลือกใช้ถ้อยคำสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
- เทคนิคการพูดแบบต่าง ๆ
บรรยาย กรณีศึกษา อภิปราย
๑๒
(ทดสอบย่อย และบรรยาย)
บทที่ การวัดบุคลิกภาพ
- การวัดบุคลิกภาพ
- ประโยชน์ของการวัดบุคลิกภาพ
- อุปสรรคของการประเมินบุคลิกภาพ
- ลักษณะของบุคลิกภาพที่สามารถวัดได้
อภิปราย ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหา
๑๓
บรรยายบทที่ การวัดบุคลิกภาพ (ต่อ)
- มาตรกรรมของบุคลิกภาพ
- กลวิธีในการวัดบุคลิกภาพ
- การทดสอบและแบบทดสอบบุคลิกภาพ
บรรยาย ศึกษากรณี ศึกษา
อภิ ปราย การวิเคราะห์ประเด็นจากสถานการณ์จริง
๑๔
บทที่ ๑๐ การพัฒนาบุคลิกภาพ
- บุคลิกภาพกายและสุขภาพจิต
- บุคลิกภาพกับความสำเร็จ
- การเปลี่ยนแปลงของบุคลิกภาพ
บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปราย
๑๕
พระพุทธศาสนากับการพัฒนาบุคลิกภาพ
-
บรรยาย ศึกษา
๑๖
สอบปลายภาค


แผนการประเมินผลการเรียนรู้
ที่
วิธีการประเมิน
สัปดาห์ที่ประเมิน
สัดส่วนของการประเมินผล
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
๑๖
๒๐%
๕๐%
วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน
การทำงานกลุ่มและผลงาน
การอ่านและสรุปบทความ
การส่งงานตามที่มอบหมาย
ตลอดภาคการศึกษา
๒๐%
การเข้าชั้นเรียน
การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน
ตลอดภาคการศึกษา
๑๐%

หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

. เอกสารและตำราหลัก
กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์. ผศ. บุคลิกภาพและการปรับตัว. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ๒๕๕๒.
ฉันทนิช อัศวนนท์. ปบ.กศ.. เทคนิคและการพัฒนาบุคลิกภาพ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, ๒๕๕๒.
พิมลวรรณ เชื้อบางแก้ว. ผศ. การพัฒนาบุคลิกภาพ กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ๒๕๕๒.
ฤดี หลิมไพโรจน์. ผศ. การพัฒนาบุคลิกภาพ กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ๒๕๕๒.
สถิต วงศ์สวรรค์ รศ. การพัฒนาบุคลิกภาพ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์บริษัทธเนศวร พริ้นติ้ง (๑๙๙๙) จำกัด, ๒๕๔๘.
. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
ไม่มี
. เอกสารและข้อมูลแนะนำ

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
  • การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและนักศึกษา
  • การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของนักศึกษา
  • แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
  • ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
  • การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
  • ผลการสอบ
  • การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
  • สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
  • การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
  • การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
  • มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
  • ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
  • เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นิสิตมีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆ